ข้อมูลในหมวด ก๊าซธรรมชาติ | Whale Energy Station
Category

ก๊าซธรรมชาติ

Category

วันนี้พี่วาฬมีเรื่องน่าสนใจมาแชร์ให้กับเพื่อน ๆ อีกแล้วครับ หลายคนมีข้อสงสัยเกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยงานก่อสร้างโรงแยกก๊าซธรรมชาติ  พี่วาฬเลยไปทำการบ้าน และสรุปเนื้อหามาเล่าให้เพื่อน ๆ เข้าใจไปพร้อม ๆ กันครับ เริ่มต้นที่ว่า “โรงแยกก๊าซธรรมชาติ” คืออะไร? และมีประโยชน์อย่างไรกับพวกเราทุกคน โรงแยกก๊าซธรรมชาติ …

ปกติเราใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นพลังงานเชื้อเพลิง เช่น ใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้า เชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม เชื้อเพลิงใช้ในครัวเรือนและใช้ในยานพาหนะ แต่ในเนื้อก๊าซธรรมชาติมีองค์ประกอบของสารเคมีอีกหลายชนิดเมื่อนำไปผ่านกระบวนการแยกก๊าซแล้ว พี่วาฬจะพาเพื่อน ๆ ไปรู้จักเอง ว่าองค์ประกอบต่าง ๆ ที่แยกได้นั้นสามารถนำไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้างทั้งในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีและอุตสาหกรรมการผลิตอื่น ๆ อีกมากมายสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจได้ไม่สิ้นสุด ที่มาข้อมูล  :  https://pttngr.pttplc.com/Knowledg…

เรื่องนี้พี่วาฬจะรู้คนเดียวไม่ได้  👍 นั่นก็คือความร่วมมือระหว่างโตโยต้ากับเครือซีพี ที่จะเริ่มผลิตไฮโดรเจนโดยใช้ก๊าซชีวภาพเป็นพลังงานเชื้อเพลิงเป็นครั้งแรกในประเทศไทย ต้องถือเป็นแผนงานที่จะช่วยกันลดปริมาณคาร์บอนในภาคการขนส่งของไทยได้เลยนะ  โตโยต้าจะลงทุนติดตั้งอุปกรณ์ที่ผลิตก๊าซไฮโดรเจนซึ่งจะผลิตไฮโดรเจนได้ 1,000 ลิตรต่อชั่วโมง ที่ จ.สมุทรปราการ ส่วนก๊าซชีวภาพจะมาจากฟาร์มสัตว์ปีกของไทยที่ดำเนินการโดยเครือเจริญโภคภัณฑ์และหน่วยงานอื่น ๆ รวมทั้งเศษอาหารจากโรงอาหารของสำนักงานใหญ่ประจำภูมิภาคข…

📌 มีใครรู้บ้างว่าก๊าซธรรมชาติคืออะไร? พี่วาฬกับคุณช้างจะไขข้อสงสัยให้กับทุกคนเอง ที่มาข้อมูล : https://www.pttplc.com/th/Media/Publications/Knowledge/Naturalgasknowledge/download/Content-4149.aspx 

หลายคนอาจไม่รู้ว่าไฟฟ้า⚡ ที่เราใช้มาจากไหนกันนะ ผลิตมาจากอะไรบ้าง วันนี้วาฬจะมาบอกให้ฟังเองว่ามาไฟฟ้าที่เราใช้กันอยู่นั้นมาจากไหนบ้าง ✅ ก๊าซธรรมชาติ 52% ✅ ถ่านหิน/ลิกไนต์ 18% ✅ นำเข้า 17% ✅ พลังงานทดแทน 10% ✅ พลังงานน้ำ 3% ✅ น้ำมันเตา/ดีเซล 0.3% ⚡ จะเห็นได้ว่า ประเทศไทยของเราใช้ก๊าซธรรมชาติในการผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นหลักนั่นเอง พี่วาฬหวังว่าทุกคนจะรู้เหมือนพี่วาฬแล้วนะ ไว้คราวหน้าพี่วาฬจะมาเล่าให้ฟังอีกนะค้าบ บ๊ายบาย ที่มาข้อมูล: http://www.eppo.go.th/index.php/th/energy-information/energy-st…

วันนี้พี่วาฬชวนทุกคนมาทำความรู้จักว่าจริง ๆ แล้ว NGV กับ LPG ต่างกันยังไง❓ มาเริ่มกันที่ NGV กันก่อน ✅โดย NGV เป็นก๊าซธรรมชาติที่เกิดจากการทับถมของฟอสซิล เหมือนน้ำมันและถ่านหินเลย เป็นก๊าซที่ไร้สี และไร้กลิ่น ซึ่งข้อดีข้อ NGV มีอยู่เยอะเลยไม่ว่าจะเป็น เป็นเชื้อเพลิงที่มีประสิทธิภาพสูง ปลอดภัยในการใช้งาน ราคาถูกกว่าชนิดอื่น  ลดการสร้างก๊าซเรือนกระจกได้ด้วย 🌏 ✅ ส่วน LPG คือก๊าซปิโตรเลียมเหลว เราจะเห็นได้ก็คือก๊าซหุงต้มที่เราใช้กันนั้นเอง 🍱 ข้อดีของ LPG ก็คือผลิตได้ในประเทศ มีราคาถูก ประหยัดค่าเชื้…

📌วันนี้พี่วาฬมาช่วยตอบคำถามที่คุณช้างและหลายคนส่งสัยกันว่า ก๊าซธรรมชาติและก๊าซหุงต้มต่างกันยังไง ❓มารู้จักและเข้าใจไปพร้อม ๆ กันเลย ที่มาข้อมูล : https://www.youtube.com/watch?v=UvIcgJ25S_s

🤢 คุณช้างเคยบอกพี่วาฬใช่ไหมว่าทำไมก๊าซธรรมชาติต้องมีกลิ่นฉุนๆ ทั้งที่สถานะเริ่มต้นของก๊าซคือไม่มีสีและกลิ่น 🥚 นั่นเพราะว่าบริษัทผลิตพลังงานได้เพิ่มกลิ่นฉุนๆ ที่เรียกว่ากลิ่นไข่เน่า (Rotten Egg) ไว้เพื่อความปลอดภัยเพราะเมื่อเกิดเหตุการณ์ก๊าซรั่วเราก็จะได้กลิ่นและดำเนินการแก้ปัญหาได้ยังไงล่ะ ที่มาข้อมูล: https://www.constellation.com/energy-101/energy-choice/energy-facts.html

ลัคกี้พาทัวร์แหล่งที่มาของเทคโนโลยีพลังงานสะอาด พลังงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และสามารถเจอได้จากสิ่งรอบตัวเรานี่แหละ ซึ่งหลายคนอาจจะยังไม่เคยรู้ว่ามาจากไหนบ้าง วันนี้ลัคกี้มาแชร์พลังงานสะอาด 6 แหล่ง โดยแต่ละพลังงานก็มีประโยชน์กว่าเชื้อเพลิงดั้งเดิมมากเลย แต่จะแตกต่างกันอย่างไร ไปดูกัน 1. พลังงานลม คือหนึ่งในพลังงานสะอาดที่ยั่งยืน แต่การใช้ลมผลิตไฟฟ้านั้นจำเป็นต้องใช้แรงลมที่สม่ำเสมอ หรือกำลังลมทั้งปีไม่ควรต่ำกว่า 6.4 – 7.0 เมตรต่อวินาทีจึงจะผลิตไฟฟ้าจากกังหันลมได้ดี ดังนั้นภูมิประเทศที่เหมาะส…

บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จำกัด เปิดเผยว่าความต้องการ LNG ทั่วโลกเพิ่มขึ้นกว่า 12.5% และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าในปี 2040 เพราะ LNG เป็นก๊าซธรรมชาติซึ่งสามารถลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนฯ หลังจากเผาไหม้เป็นพลังงานได้ โดยตั้งแต่ปี 2010 การใช้ก๊าซธรรมชาติแทนการใช้ถ่านหินช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์กว่า 500 ล้านตันเลยทีเดียว ที่มาข้อมูล: https://www.cnbc.com/2020/02/20/demand-for-liquefied-natural-gas-set-to-double-by-2040-shell.html #พลังวาฬบางอย่าง #LNG #ความต้องการพลังงาน